วันอังคารที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2552

บทที่3

ส่วนที่1 จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุด

1.ข้อเท็จจริงที่เก็บรวบรวมมาได้ เรียกว่า
ก. ข้อมูล ข. สารสนเทศ
ค. ข้อความ ง. ตัวเลข
2.ข้อมูลใด เป็นข้อมูลที่สามารถนำไปคำนวณได้
ก. รหัสไปรษณีย์ ข. หมายเลขโทรศัพท์
ค. บ้านเลขที่ ง. น้ำหนัก
3.ข้อมูลใด จัดเป็นข้อมูลตัวเลข
ก. ความสูง ข. เลขประจำตัว
ค. ความเร็ว ง. ระยะทาง
4. ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล เรียกว่า
ก. ข้อมูล ข. สารสนเทศ
ค.ข้อความ ง. ตัวเลข
5. หน่วยของข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด คือ
ก. ระเบียน ข. ไบต์
ค. บิต ง. เขตข้อมูล
6. รหัสแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์แทนด้วยเลขฐานใด
ก. เลขฐานสอง ข. เลขฐานแปด
ค. เลขฐานสิบ ง. เลขฐานสิบหก
7. ตัวอักษร 1 ตัว ในระบบคอมพิวเตอร์ เรียกว่า
ก. เขตข้อมูล ข. ไบต์
ค. บิต ง. ระเบียน
8. หน่วยของข้อมูลที่ประกอบด้วยอักขระตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป เรียกว่า
ก. บิต ข. ไบต์
ค.เขตข้อมูล ง. ระเบียน
9. การนำเขตข้อมูลหลายๆ เขตข้อมูลมารวมกัน เกิดเป็นข้อมูลเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เรียกว่า
ก. ฐานข้อมุล ข. แฟ้มระเบียน
ค.บิต ง. ระเบียน
10. การนำข้อมูลตั้งแต่ 1 ระเบียนขึ้นไป ที่เป็นเรื่องเดียวกันมารวมกัน เรียกว่า
ก. เขตข้อมูล ข. แฟ้มข้อมูล
ค. ระเบียน ง. ฐานข้อมูล
11. การนำแฟ้มข้อมูลที่เกี่ยวข้องมารวมกัน จะเกิดเป็น
ก. ฐานข้อมูล ข. เขตข้อมูล
ค.ระเบียน ง. ฐานข้อมูล

12. การแบ่งประเภทข้อมูล โดยพิจารณาจากองค์กร จะแบ่งได้เป็น
ก. ข้อมูลภายในองค์กร ข. ข้อมูลภายนอกองค์กร
ค. ข้อมูลองค์กรขนาดใหญ่และขนาดเล็ก ง. ถูกทั้งข้อ ก. และ ข.
13. การแบ่งประเภทข้อมูลโดยพิจารณาจากการนำข้อมูลไปใช้งาน จะแบ่งได้เป็น
ก. ข้อมูลที่ใช้ในการปฏิบัติงาน และใช้ในการบริหาร
ข. ข้อมูลใช้งานเฉพาะกิจ และข้อมูลใช้งานทั่วไป
ค. ข้อมูลที่ใช้ในงานเฉพาะกิจ และข้อมูลที่ใช้ในงานบริหาร
ง. ถูกทุกข้อ
14. ลักษณะข้อมูลที่ดี ประกอบด้วย
ก. มีความถูกต้อง สมบูรณ์ ข. ตรงต่อความต้องการผู้ใช้
ค. มีความทันสมัย ทันต่อการใช้งาน ง. ถูกทุกข้อ
15. ปัญหาที่สำคัญที่ทำให้เกิดความต้องการใช้ฐานข้อมูล (Database)
ก. ข้อมูลมีปริมาณมาก ข. ข้อมูลมีการซ้ำซ้อนกันมาก
ค.ต้องการความรวดเร็ว ง. ถูกทุกข้อ




ส่วนที่2 จงตอบคำถาม

1. จงบอกความหมายของข้อมูล
- ข้อมูล(Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงต่างๆ ที่เก็บรวบรวมมาได้
ข้อมูลอาจอยู่ในรูปของตัวเลข ตัวหนังสือ หรือเรื่องราวต่างๆ ที่ยังไม่ได้ผ่านการประมวลผล
2. ข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์มีกี่ประเภท อะไรบ้าง
- 2 ประเภท คือ
1. ข้อมูลที่สามารถนำไปคำนวณได้ ได้แก่ ข้อมูลที่เป็นตัวเลข เช่น อายุ คะแนน น้ำหนัก เป็นต้น
2. ข้อมูลที่ไม่สารมารถนำไปคำนวณได้ ได้ไก่ ข้อมูลที่เป็นตัวอักษร ข้อมูลที่เป็นตัวอักษรปนตัวเลข และแม้แต่ข้อมูลที่เป็นตัวเลขแต่ไม่นำไปคำนวณ เช่น ชื่อคน ชื่อสินค้า ที่อยู่ รหัสไปรษณีย์ หมายเลขโทรศัพท์ เป็นต้น
3. สารสนเทศคืออะไร
- ข้อมูลต่างๆ เหล่านี้เมื่อนำไปประมวลผลแล้วจะได้ผลลัพธ์ตามที่ผู้ใช้ต้องการ และผลลัพธ์ที่ได้นี้เราเรียกว่า สารสนเทศ (Information)
4. จงอธิบายโครงสร้างของการจัดเก็บข้อมูลลงในแฟ้มข้อมูล
- บิต(Bit)
หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด
ไบต์(Byte)
หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการนำบิตมารวมกันเป็นชุด เกิดเป็นตัวอักขระ(Character) 1 ตัว
เขตข้อมูล(Field)
หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่ประกอบขึ้นจากตัวอักขระตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไป เมื่อนำมารวมกันแล้วได้ความหมาย
ระเบียน(Record)
หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการนำเอาเขตข้อมูลหลายๆเขตข้อมูลมารวมกันเพื่อให้เกิดเป็นข้อมูล
เรื่องใดเรื่องหนึ่ง
แฟ้มข้อมูล(File)
หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการนำข้อมูลตั้งแต่ 1 ระเบียนขึ้นไป ที่เป็นเรื่องเดียกันมารวมกัน




5. จงบอกความหมายของฐานข้อมูล
- โครงสร้างของข้อมูลที่ประกอบด้วยรายละเอียดของข้อมูลที่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งจะนำมาใช้ในระบบงานต่างๆ ร่วมกัน และถูกจัดเก็บไว้ในฐานข้อมูลเดียวกันอย่างเป็นระบบ ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นการนำระบบคอมพิวเตอร์มาช่วยในการจัดการฐานข้อมูล
6. การแบ่งประเภทของข้อมูลโดยพิจารณาจากองค์กร สามารถแบ่งได้เป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
- 2 ประเภท
1. ข้อมูลภายในองค์กร
2. ข้อมูลภายนอกองค์กร
7.การแบ่งประเภทของข้อมูลโดยพิจารณาจากการนำข้อมูลไปใช้งานสามารถแบ่งได้เป็น
กี่ประเภท อะไรบ้าง
- 2 ประเภท
1. ข้อมูลที่ใช้ในการปฏิบัติงาน
2. ข้อมูลที่ใช้ในการบริหาร
8. จงบอกถึงลักษณะของข้อมูลที่ดี
- 1. มีความถูกต้อง
2. มีความสมบูรณ์
3. ตรงกับความต้องการของผู้ใช้
4. ทันต่อความต้องการใช้งาน
5. มีความทันสมัย
9. ชนิดของเขตข้อมูลมีอะไรบ้าง พร้อมอธิบาย
- 1. เขตหลัก(Key Field)
คีย์หลัก(Primary Key)
คีย์รอง(Secondaruy Key)
2. เขตที่ไม่ใช่เขตหลัก (Nonkey Field)
10. ขั้นตอนในการประมวลผลข้อมูลมีกี่ขั้นตอน อะไรบ้าง
- 3 ขั้นตอน
1. การรับข้อมูลเข้า (Input)
2. การประมวลผล (Process)
3. การแสดงผล (Output)

วันอังคารที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

แบบบฝึกหัด

1. ข้อใดไม่ใช่คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์
ตอบ ค.ทำงานแทนมนุษย์ได้ทุกอย่าง
2. คอมพิวเตอร์ชนิดใดที่สามารถประมวลผลข้อมูลทีมีลักษณะเป็นสัญญาณต่อเนื่อง
ตอบ ก.แอนะล็อกคอมพิวเตอร์
3. ข้อใดเป็นการแบ่งประเภทคอมพิวเตอร์ตามลักษณะข้อมูลที่นำมาประมวลผล
ตอบ ง.ไมโครคอมพิวเตอร์
4. คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่สุด คือ
ตอบ ก.ดิจิตอลคอมพิวเตอร์
5. ข้อใดเป็นลักษณะคอมพิวเตอร์ใช้งานเฉพาะกิจ
ตอบ ค.ใช้คอมพิวเตอร์ควบคุมการเดินเรือ
6. หน่วยประมวลกลางของไมโครคอมพิวเตอร์ ทำจากแผงวงจรรวมที่เรียกว่า
ตอบ ง.IC
7. คอมพิวเตอร์ชนิดใด ไม่จัดเป็นไมโครคอมพิวเตอร์
ตอบ ค.Palmtop
8. ลักษณะงานที่เหมาะสมจะนำคอมพิวเตอร์ไปใช้คือ
ตอบ ง.ถูกทุกข้อ
9. งานใดที่ไม่จำเป็นต้องใช้คอมพิวเตอร์
ตอบ ค.การปรุงอาหาร
10. งานใดที่มีการใช้คอมพิวเตอร์แบบไฮบริดจ์คอมพิวเตอร์
ตอบ ค.การควบคุมสต๊อก
11. อุปกรณ์ใดจัดเป็นหน่วยรับข้อมูลเท่านั้น
ตอบ ข.แป้นพิมพ์
12. อุปกรณ์ใดจัดเป็นหน่วยแสดงผลเท่านั้น
ตอบ ก.เครื่องพิมพ์
13. อุปกรณ์ใดที่เป็นได้ทั้งหน่วยรับข้อมูลและหน่วยแสดงผล
ตอบ ง.ถูกทุกข้อ
14. หน่วยใดที่ทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูล
ตอบ ค.หน่วยประมวลผลกลาง
15. ขณะที่เปิดเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่ หน่วยใดที่ทำหน้าที่เก็บข้อมูลชั่วคราว
ตอบ ข.หน่วยความจำสำรอง
16. หน่วยใดที่ทำหน้าที่คำนวณและเปรียบเทียบทางตรรกะ
ตอบ ข.หน่วยคำนวณและเปรียบเทียบ
17. หน่วยใดที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ต่างๆ
ตอบ ค.หน่วยควบคุม
18. หน่วยใดที่ทำหน้าที่เก็บรักษาสำรองโปรแกรมหรือข้อมูลไว้ใช้งานต่อไป
ตอบ ง.หน่วยความจำสำรอง
19. ข้อใดไม่ใช่หน่วยความจำสำรอง
ตอบ ค.เครื่องพิมพ์
20. โปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่สั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน คือ
ตอบ ข.ซอฟแวร์
21. ประเภทของซอฟแวร์ คือ
ตอบ ง.ถูกทั้งข้อ ก. และ ข.
22. ข้อใดเป็นซอฟแวร์ระบบ
ตอบ ก.โปรแกรมระบบปฏิบัติการ
23. ข้อใดจัดเป็นซอฟแวร์ประยุกต์
ตอบ ค.โปรแกรมสำเร็จรูปใช้งานด้านต่างๆ
24. บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ คือข้อใด
ตอบ ค.ผู้ควบคุมการทำงานของเครื่อง
25. ใครที่ไม่ใช่บุคลากรทางคอมพิวเตอร์
ตอบ ห.นักวิเคราะห์ระบบ

ตอนที่2
1.คอมพิวเตอร์ คืออะไร
อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถรับ และจดจำคำสั่งข้อมูลทั้งที่เป็นตัวเลข ตัวอักษร หรือักขระพิเศษ

2.แบ่งประเภทของคอมพิวเตอร์ตามลักษณะของข้อมูลที่จะนำมาประมวลได้เป็นกี่ประเภทอะไร
แบ่งได้3ประเภท
1.แอนะล็อกคอมพิวเตอร์
2 .ดิจิตอลคอมพิวเตอร์
3. ไฮบริดคอมพิวเตอร์

3.แบ่งประเภทของคอมพิวเตอร์ตามลักษณะการใช้งานได้เป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
แบ่งได้2ประเภท
1.คอมพิวเตอร์แบใช้งานทั่วไป
2. คอมพิวเตอร์ใช้งายเพาะกิจ

4.แบ่งประเภทของคอมพิวเตอร์ตามขนาดของเครื่องได้กี่ประเภท อะไรบ้าง
แบ่งได้4ประเภท
1.ซูเปอร์คอมพิวเตอร์
2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์
3. มินิคอมพิวเตอร์
4. ไมโครคอมพิวเตอร์

5. ลักษณะงานที่เหมาะจะนำคอมพิวเตอร์ไปใช้ ควรมีลักษณะอย่างไร
1. งานที่มีปริมาณข้อมูลจำนวนมาก
2. งานที่ต้องมีการคำนวณซับซ้อน
3.งานที่ต้องทำซ้ำซาก
4. งานที่ต้องการความถูกต้องแม่นยำ
5. งานที่ตีองการผลลัพธ์อย่างรวดเร็ว

6.ระบบคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยอะไรบ้าง
1.ฮาร์ดแวร์
2. ซอฟต์แวร์
3.บุคลากรทางคอมพิวเตอร์
4. ข้อมูล

7.ฮาร์ดแวร์มีส่วนประกอบหลักอะไรบ้าง
1.หน่วยรับข้อมูล
2.หน่วยประมวลผลกลาง
3. หน่วยความจำหลัก
4. หน่วยแสดงผล
5. หน่วยความจำสำรอง

8. หน่วยรับข้อมูล มีหน้าที่อะไรบ้าง และอุปกรณ์ที่จัดเป็นหน่วยรับข้อมูลมีอะไรบ้าง
มีหน้าที่ในการรับข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกณ์ได้แก่ แป้นพิมพ์ เมาส์

9. หน่วยประมวลกลาง มีหน้าที่อะไรบ้าง
มีหน้าที่ประมวลผลข้อมูลตามโปรแกรมหรืคำสั่งที่ได้รับ แลมีหน้าที่ควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ต่างๆ

10. อธิบายส่วนประกอบของหน่วยประมวลผลกลาง
1. หน่วยคำนวณและเปรียบเทียบ มีหน้าที่ในหารคำนวณและเปรียบเทียบทางตรรกะ
2. หน่วยควบคุม มีหน้าที่ควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ต่างๆ

11. จงบอกหน้าที่ของหน่วยความจำหลัก
มีหน้าที่เก็บข้อมูลชั่วคราวขณะเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่ ข้อมูลที่รับเข้าจากหน่วยรับข้อมูลจะถูกนำมาเก็บที่หน่วยความจำหลัก

12. จงบอกหน้าที่ของหน่วยแสดงผล
มีหน้าที่ในการแสดงข้อมูลหรือผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล ซึ่งเก็บอยู่ในหน่วยความจำหลัก

13. จงบอกหน้าที่ของหน่วยความจำสำรอง
มีหน้าที่เป็นที่เก็บสำรองข้อมูลหรือโปรแกรมไว้ใช้งานในเวลาต่อไป

14. ซอฟต์แวร์ คืออะไร
เป็นโปรแกรมหรือชชุดคำสั่งที่สั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน สามารถเขียนขึ้นด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง

15. ซอฟต์แวร์แบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
2ประเภท
1.ซอฟต์แวร์ระบบ
2.ซอฟต์แวร์ประยุกต์

แบบฝึกหัด

1. ข้อใดไม่ใช่คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์
ตอบ ค.ทำงานแทนมนุษย์ได้ทุกอย่าง
2. คอมพิวเตอร์ชนิดใดที่สามารถประมวลผลข้อมูลทีมีลักษณะเป็นสัญญาณต่อเนื่อง
ตอบ ก.แอนะล็อกคอมพิวเตอร์
3. ข้อใดเป็นการแบ่งประเภทคอมพิวเตอร์ตามลักษณะข้อมูลที่นำมาประมวลผล
ตอบ ง.ไมโครคอมพิวเตอร์
4. คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่สุด คือ
ตอบ ก.ดิจิตอลคอมพิวเตอร์
5. ข้อใดเป็นลักษณะคอมพิวเตอร์ใช้งานเฉพาะกิจ
ตอบ ค.ใช้คอมพิวเตอร์ควบคุมการเดินเรือ
6. หน่วยประมวลกลางของไมโครคอมพิวเตอร์ ทำจากแผงวงจรรวมที่เรียกว่า
ตอบ ง.IC
7. คอมพิวเตอร์ชนิดใด ไม่จัดเป็นไมโครคอมพิวเตอร์
ตอบ ค.Palmtop
8. ลักษณะงานที่เหมาะสมจะนำคอมพิวเตอร์ไปใช้คือ
ตอบ ง.ถูกทุกข้อ
9. งานใดที่ไม่จำเป็นต้องใช้คอมพิวเตอร์
ตอบ ค.การปรุงอาหาร
10. งานใดที่มีการใช้คอมพิวเตอร์แบบไฮบริดจ์คอมพิวเตอร์
ตอบ ค.การควบคุมสต๊อก
11. อุปกรณ์ใดจัดเป็นหน่วยรับข้อมูลเท่านั้น
ตอบ ข.แป้นพิมพ์
12. อุปกรณ์ใดจัดเป็นหน่วยแสดงผลเท่านั้น
ตอบ ก.เครื่องพิมพ์
13. อุปกรณ์ใดที่เป็นได้ทั้งหน่วยรับข้อมูลและหน่วยแสดงผล
ตอบ ง.ถูกทุกข้อ
14. หน่วยใดที่ทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูล
ตอบ ค.หน่วยประมวลผลกลาง
15. ขณะที่เปิดเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่ หน่วยใดที่ทำหน้าที่เก็บข้อมูลชั่วคราว
ตอบ ข.หน่วยความจำสำรอง
16. หน่วยใดที่ทำหน้าที่คำนวณและเปรียบเทียบทางตรรกะ
ตอบ ข.หน่วยคำนวณและเปรียบเทียบ
17. หน่วยใดที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ต่างๆ
ตอบ ค.หน่วยควบคุม
18. หน่วยใดที่ทำหน้าที่เก็บรักษาสำรองโปรแกรมหรือข้อมูลไว้ใช้งานต่อไป
ตอบ ง.หน่วยความจำสำรอง
19. ข้อใดไม่ใช่หน่วยความจำสำรอง
ตอบ ค.เครื่องพิมพ์
20. โปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่สั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน คือ
ตอบ ข.ซอฟแวร์
21. ประเภทของซอฟแวร์ คือ
ตอบ ง.ถูกทั้งข้อ ก. และ ข.
22. ข้อใดเป็นซอฟแวร์ระบบ
ตอบ ก.โปรแกรมระบบปฏิบัติการ
23. ข้อใดจัดเป็นซอฟแวร์ประยุกต์
ตอบ ค.โปรแกรมสำเร็จรูปใช้งานด้านต่างๆ
24. บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ คือข้อใด
ตอบ ค.ผู้ควบคุมการทำงานของเครื่อง
25. ใครที่ไม่ใช่บุคลากรทางคอมพิวเตอร์
ตอบ ห.นักวิเคราะห์ระบบ
ตอนที่2
1.คอมพิวเตอร์ คืออะไร
อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถรับ และจดจำคำสั่งข้อมูลทั้งที่เป็นตัวเลข ตัวอักษร หรือักขระพิเศษ
2.แบ่งประเภทของคอมพิวเตอร์ตามลักษณะของข้อมูลที่จะนำมาประมวลได้เป็นกี่ประเภทอะไร
แบ่งได้3ประเภท
1.แอนะล็อกคอมพิวเตอร์
2 .ดิจิตอลคอมพิวเตอร์
3. ไฮบริดคอมพิวเตอร์
3.แบ่งประเภทของคอมพิวเตอร์ตามลักษณะการใช้งานได้เป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
แบ่งได้2ประเภท
1.คอมพิวเตอร์แบใช้งานทั่วไป
2. คอมพิวเตอร์ใช้งายเพาะกิจ
4.แบ่งประเภทของคอมพิวเตอร์ตามขนาดของเครื่องได้กี่ประเภท อะไรบ้าง
แบ่งได้4ประเภท
1.ซูเปอร์คอมพิวเตอร์
2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์
3. มินิคอมพิวเตอร์
4. ไมโครคอมพิวเตอร์
5. ลักษณะงานที่เหมาะจะนำคอมพิวเตอร์ไปใช้ ควรมีลักษณะอย่างไร
1. งานที่มีปริมาณข้อมูลจำนวนมาก
2. งานที่ต้องมีการคำนวณซับซ้อน
3.งานที่ต้องทำซ้ำซาก
4. งานที่ต้องการความถูกต้องแม่นยำ
5. งานที่ตีองการผลลัพธ์อย่างรวดเร็ว
6.ระบบคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยอะไรบ้าง
1.ฮาร์ดแวร์
2. ซอฟต์แวร์
3.บุคลากรทางคอมพิวเตอร์
4. ข้อมูล
7.ฮาร์ดแวร์มีส่วนประกอบหลักอะไรบ้าง
1.หน่วยรับข้อมูล
2.หน่วยประมวลผลกลาง
3. หน่วยความจำหลัก
4. หน่วยแสดงผล
5. หน่วยความจำสำรอง
8. หน่วยรับข้อมูล มีหน้าที่อะไรบ้าง และอุปกรณ์ที่จัดเป็นหน่วยรับข้อมูลมีอะไรบ้าง
มีหน้าที่ในการรับข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกณ์ได้แก่ แป้นพิมพ์ เมาส์
9. หน่วยประมวลกลาง มีหน้าที่อะไรบ้าง
มีหน้าที่ประมวลผลข้อมูลตามโปรแกรมหรืคำสั่งที่ได้รับ แลมีหน้าที่ควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ต่างๆ
10. อธิบายส่วนประกอบของหน่วยประมวลผลกลาง
1. หน่วยคำนวณและเปรียบเทียบ มีหน้าที่ในหารคำนวณและเปรียบเทียบทางตรรกะ
2. หน่วยควบคุม มีหน้าที่ควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ต่างๆ
11. จงบอกหน้าที่ของหน่วยความจำหลัก
มีหน้าที่เก็บข้อมูลชั่วคราวขณะเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่ ข้อมูลที่รับเข้าจากหน่วยรับข้อมูลจะถูกนำมาเก็บที่หน่วยความจำหลัก
12. จงบอกหน้าที่ของหน่วยแสดงผล
มีหน้าที่ในการแสดงข้อมูลหรือผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล ซึ่งเก็บอยู่ในหน่วยความจำหลัก
13. จงบอกหน้าที่ของหน่วยความจำสำรอง
มีหน้าที่เป็นที่เก็บสำรองข้อมูลหรือโปรแกรมไว้ใช้งานในเวลาต่อไป
14. ซอฟต์แวร์ คืออะไร
เป็นโปรแกรมหรือชชุดคำสั่งที่สั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน สามารถเขียนขึ้นด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง
15. ซอฟต์แวร์แบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
2ประเภท
1.ซอฟต์แวร์ระบบ
2.ซอฟต์แวร์ประยุกต์